วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศีกษาตอนต้น

เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศีกษาตอนต้น






เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 1

    เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.1
    เทอม 1
    เทอม 2
    บทที่ 1 หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช
    1. หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
    2. ลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
    3. การลำเลียงในพืช การแพร่และการออสโมซิส
    4. การสืบพันธุ์ และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
    5. การสังเคราะห์ด้วยแสง
    6. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตของพืชในท้องถิ่น

    บทที่ 2 สารในชีวิตประจำวัน
    1. ความหมายและสมบัติของสาร
    2. ประเภทของสารและการจำแนกประเภท
    3. การแยกสารเนื้อผสม และสารเนื้อเดียว
    4. การแยกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

    บทที่ 3 สารละลาย
    1. ความหมายและองค์ประกอบของสารละลาย
    2. ความเข้มข้นของสารละลาย
    3. สมบัติการเป็นกรด-เบสของสารละลาย
    4. สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
    5. ความปลอดภัยในการใช้สารในชีวิตประจำวัน

    บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
    1. แรง ปริมาณสเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์
    2. ชนิดของแรง
    3. โมเมนตัมของแรง
    4. ความหมายของการเคลื่อนที่ และแบบของการเคลื่อนที่

    บทที่ 2 งานและพลังงาน
    1. งานกับการคำนวณเกี่ยวกับงาน
    2. พลังงานและการเปลี่ยนรูปของพลังงาน
    3. พลังงานความร้อน
    4. การใช้และการอนุรักษ์พลังงาน

    บทที่ 3 บรรยากาศ
    1. ส่วนประกอบของอากาศ
    2. อุณหภูมิของอากาศและชั้นบรรยกาศ
    3. ความดันของอากาศและความชื้นของอากาศ
    4. ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
    5. อุตุนิยมวิทยาและมลภาวะในชีวิตประจำวัน



    เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 2

      เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.2
      เทอม 1
      เทอม 2
      บทที่ 1 ชีวิตสัตว์
      1. โครงสร้างและหน้าที่ของระบบอวัยวะ
      2. การปรับตัวและพฤติกรรมของสัตว์
      3. การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธ์สัตว์
      4. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตของสัตว์

      บทที่ 2 ร่างกายของเรา
      1. ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา
      2. ความสัมพันธ์ของระบบอวัยวะในร่างกายของเรา
      3. อาหารและสารอาหาร
      4. ผลของการใช้สาราต่อร่างกายของเรา

      บทที่ 3 ธาตุและสารประกอบ
      1. ความหมายของธาตุและสมบัติบางประการของธาตุ
      2. อะตอมและโมเลกุลของสาร
      3. ความหมายของสารประกอบ
      4. ธาตุและสารประกอบที่ใช้ในชีวิตประจำวัน



      บทที่ 1 สารและการเปลี่ยนแปลง
      1. ประเภทของสารและการเปลี่ยนแปลง
      2. ระบบและสิ่งแวดล้อมกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
      3. การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
      4. พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงของสาร
      5. ผลปฏิกิริยาเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

      บทที่ 2 แสง
      1. ธรรมชาติของแสง
      2. ความสว่าง
      3. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
      4. เลเซอร์
      5. ทัศนูปกรณ์
      6. นัยน์ตาและการมองเห็น

      บทที่ 3 โลกและการเปลี่ยนแปลง
      1. ส่วนประกอบของโลก
      2. หิน แร่ และการอนุรักษ์
      3. ดิน น้ำ และการอนุรักษ์
      4. การเปลี่ยนแปลงทางธรณี

      เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 3

        เนื้อหาหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.3
        เทอม 1
        เทอม 2
        บทที่ 1 ชีวิตและสิ่งแวดล้อม
        1. ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
        2. การใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากร
        3. ปัญหาสิ่งแวดล้อม
        4. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

        บทที่ 2 ระบบนิเวศ
        1. สิ่งมีชีวิตกับแหล่งที่อยู่
        2. ประเภทของระบบนิเวศ
        3. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
        4. การถ่ายทอดพลังงาน

        บทที่ 3 พันธุกรรมและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
        1. กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
        2. โครโมโซมและสารพันธุกรรม
        3. ความหลากหลายของพืชและสัตว์ในท้องถิ่น
        4. ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
        บทที่ 1 ไฟฟ้า
        5. ปริมาณทางไฟฟ้าและการคำนวณ
        6. วงจรและการต่อวงจรไฟฟ้า
        7. เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
        8. การใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า

        บทที่ 2 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
        1. อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
        2. วงจรอิเล็กทรอนิกส์และการต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
        3. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ในชีวิตประจำวัน

        บทที่ 3 เอกภพ
        1. กำเนิดเอกภพและการเปลี่ยนแปลงของเอกภพ
        2. กาแลกซีและระบบดาวฤกษ์
        3. พลังงานของดาวฤกษ์
        4. ระบบสุริยะ
        5. เทคโนโลยีอวกาศและการสำรวจ




        ที่มา  http://brightupcenter.com/


        1 ความคิดเห็น:

        1. สารและการเปลี่ยนแปลง

          ผลการเรียนรู้ที่คาดผวัง

          1. บอกความหมายของระบบและสิ่งแวดล้อม
          2. ระบุประเภทการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ
          3. บอกความหมายของระบบปิดและระบบเปิด
          4. ระบุประเภทของการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบการเปลี่ยนสถานะ
          5. ระบุประเภทพลังานกับการละลายได้
          6. ระบุและบอกประเภทของการเปลี่ยนแปลงพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
          7. บอกผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

          ตอบลบ